- จับคู่ 2 คน นำเสนอขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ หน้าชั้นเรียน
- อาจารย์ให้จับคู่ 12 กลุ่มแรกได้หัวข้อ ขอบข่ายคณิตศาสตร์เกี่ยวกับ หน่วยสัตว์
1. การนับ = นับสัตว์ในสวนสัตว์
2. ตัวเลข = เป็นตัวกำกับตัวเลขจากมากไปน้อย ( ตัวเลข ---> แทนค่าจำนวน )
3. จับคู่ = ตัวเลขกำกับตัวเลข และ รูปทรง
4. จัดประเภท = แยกประเภทของสัตว์ คือ สัตว์บก และ สัตว์น้ำ
5. การเปรียบเทียบ = สัตว์บก กับ สัตว์น้ำ สัตว์ชนิดใดมากกว่า หรือ สัตว์ชนิดใดน้อยกว่ากัน
6. การจัดลำดับ = หาคำ , จับคู่ 1:1 ( ถ้าเด็กยังไม่มีประสบการณ์ด้านตัวเลขมากพอ ) , นำมาเรียงลำดับ
7. รูปทรง และ พื้นที่ = ไม่จำเป็นต้องจัด "ลำตัว" ของสัตว์ เสมอไป สามารถจัดเป็นขนาดกรงของสัตว์ หรือ กำหนดรูปทรงแล้วถามว่า....รูปทรงขนาดนี้สัตว์จะอยู่ในกรงได้ประมาณสักกี่ตัว?
8. การวัด = วัดอาหารที่สัตว์กินในแต่ละวัน , วัดพื้นที่ที่สัตว์อาศัยอยู่
9. เซต = การจัดตู้ปลา อุปกรณ์มีอะไรบ้าง?
10. เศษส่วน = ( สอนพื้นฐานให้กับเด็ก ) การแบ่งนกในกรงในจำนวนที่เท่ากัน >> เน้นให้เด็กแบ่งครึ่ง
11. การทำตามแบบ = สร้างแบบ และ ทำตามแบบ
12. การอนุรักษ์ = ดินน้ำมัน ( รูปร่างเปลี่ยนแปลงไปแต่ปริมาณเท่าเดิม ) , ทราย ( เอาทรายใส่ขวดแล้วเอาแม่พิมพ์มาทำให้รูปร่างแตกต่างกันไป )
และที่เหลืออีก 7 กลุ่ม ได้ขอบเขตคณิตศาสตร์เกี่ยวกับ หน่วยผัก
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว พิชชา พรมกลิ้ง 5411201543 เลขที่ 7
2. นางสาว อิฏอาณิก เทพยศ 5411201618 เลขที่ 11
หมายเหตู เนื่องจากวันนี้ดิฉันต้องไปทำธุระที่ต่างจังหวัด จึงไม่ได้ไปเรียน นางสาว พิชชา พรมกลิ้ง จึงได้ พูดนำเสนอกิจกรรมเพียงคนเดียว
กลุ่มดิฉันได้ หัวข้อที่ 4 คือ "การจัดประเภท"
1. การนับ = นับผักในตะกร้า
2. ตัวเลข = เรียงผักที่นับออกจากตะกร้า ( ลำดับที่ 1,2,3,.....ตามลำดับ )
3. จับคู่ = จำนวนผัก กับ เลขฮินดูอารบิก
4. จัดประเภท = แยกผักใบเขียว
5. การเปรียบเทียบ = จากขนาด รูปทรง จำนวน
6. การจัดลำดับ = วัดผัก โดยการเปรียบเทียบ 1:1
7. รูปทรงและพื้นที่ = ตะกร้าสี่เหลี่ยม ใส่แครอทได้กี่หัว
สัปดาห์หน้าอาจารย์ให้นำกล่องมาคนละใบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น